SILOOET HOUSE

SILOOET HOUSE

SILOOET HOUSE
NONTHABURI
AREA : 520 SQ.M.
PHOTOGRAPHS : SILOOET

Product Recommend

Design Connext
Design Connext
Design Connext
Design Connext
Design Connext
ผลงานที่น่าสนใจ
NN STUDIO DESIGN

NN STUDIO DESIGN

เข้าชม 139 ครั้ง
Scaleup architects
997
เข้าชม
6
ถูกใจ
Thailand
ไทย

ข้อมูลทั่วไป
เข้าชม
23 ครั้ง
ปี
2020
ประเภทโครงการ
หอประชุม / นิทรรศการ
สไตล์การออกแบบ
พื้นถิ่น
แฮชแท็ก
scaleuparchitecs
scaleup
scaleuparchitect
scaleuparchitects
Architecture
Luxury
ผลงานที่เกี่ยวข้อง
Location : จ.น่าน | ออกแบบจากการผสมผสานเอาความเป็นสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นแและองค์ประกอบที่สามารถเห็นได้ในชุมชน อาทิ รั้วไม้ ผนังขัดเเตะ หรือหลอมข้าวที่สานจากไม้ไผ่และขี้วัว นำมาสร้างเป็นรูปทรงทางสถาปัตยกรรมศาลาเพื่อนำเสนอและจำหน่ายสินค้าในชุมชน 8 ชุมชน โดยมีการจัดแสดงงานศิลปะของชุมชนที่ด้านหน้าทางเข้าเพื่อเรียกความสนใจและภายในมีการวางสินค้าให้ล้อมรอบลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าสามารถเห็นสินค้าได้มากที่สุดและสามารถมีสมาธิในการเลือกคัดสรรค์สินค้าที่ต้องการได้ Design Strategy "Tree-Flower-Pollen" theory. ■ T R E E - The gazebo design should be able to integrate into the environment. Like the tree in the forest in order to maintain the overall look of the place. ■ F L O W E R - Like those tree who use the flower to attract the bee, each information center will be decorated by the art piece which suMphat has been inspired by the local craft and produce by the villager. This art installation will attract the tourist attention to the booth. ■ P O L L E N - Once the bee arrive to the flower, they will rolling in the pollen and carry them back. Once tourist visit the art installation, they will walk inside the display area and discover some craft product on display. With this display space, everyone in the village can have their product on display equally and lead the tourist to visit their studio.
2020
Location : จ.น่าน | Proposal Design : แนวทางการปรับปรุงอาคาร เน้นความลื่นไหลในพื้นที่หลักและควบรวมพื้นที่ส่วนแสดงงานให้เป็นพื้นที่เดียวกัน โดยจะแบ่งเป็น 4 ZONE ได้เเก่ 1.พื้นที่ต้อนรับและพักคอย 2.พื้นที่แสดงนิทรรศการชั่วคราว 3.พื้นที่แสดงนิทรรศการถาวร 4.ส่วนห้องสมุด และ CO.WORKING SPACE แนวทางการออกแบบจะเลือกใช้ภาพที่คุ้นเคยในวัฒนธรรมของน่าน ทั้งสภาพแวดล้อมที่เป็นมุมมองแบบพาโนรามา ผ่านการสร้างผนังห้องทรงโค้ง เหมือนดั่งเดินอยู่ในหุบเขา ที่นั่งห้องฉายวีดีทัศน์ปรับที่นั่งให้นั่งชมได้มากขึ้นซึ่งพัฒนาจากนาขั้นบันได องค์ประกอบของอาคารพื้นถิ่นเส้นไม้ไผ่ที่ถูกแปรด้วยโครงสร้างเหล็กขึง นำเสาไม้เก่ามาประกอบการเข้าไม้ของเฮือนและโฮงน่านวัสดุที่เลือกใช้จึงสื่อถึงวัสดุธรรมชาติ สีของแผ่นดิน เส้นสายของงานไม้ไผ่ และสับฟากจากองค์ความรู้ของชุมชน