GRANDHOME Bangna twilight

GRANDHOME Bangna twilight

รูปทรงสถาปัตยกรรมภายนอก “Turning Tangent”สร้างความรู้สึกdynamicด้วยเส้นสายเฉียบคมลบมุมซ้อนทับกันด้วยพื้นผิวแนวตั้งแบบrandom มีเอกลักษณ์ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้คนรุ่นใหม่ที่หลงใหลงานดีไซน์ได้จินตนาการต่อยอดไปไม่มีที่สิ้น

Product Recommend

Design Connext
Design Connext
Design Connext
Design Connext
Design Connext
ผลงานที่น่าสนใจ
ISSADA KAWPRASERT

ISSADA KAWPRASERT

เข้าชม 446 ครั้ง
DREAM BOXES DESIGN CO., LTD.

DREAM BOXES DESIGN CO., LTD.

เข้าชม 13 ครั้ง
Chalermkiat  Suwanprinya
14
เข้าชม
1
ถูกใจ

ข้อมูลทั่วไป
เข้าชม
5 ครั้ง
ปี
2017
ขนาดพื้นที่
17,000 ตร.ม.
ประเภทโครงการ
สถานที่ค้าขาย / ร้านค้าปลีก
สไตล์การออกแบบ
โมเดิร์น
ลอฟท์
แฮชแท็ก
LENSONARCHITECTUREPHOTOCONTEST2024
LENSONARCHITECTURE2024
สถานะ
สร้างเสร็จแล้ว
ผลงานที่เกี่ยวข้อง
GRANDHOME Bangna
17000 ตร.ม.
2017
รูปทรงสถาปัตยกรรมภายนอก “Turning Tangent”สร้างความรู้สึกdynamicด้วยเส้นสายเฉียบคมลบมุมซ้อนทับกันด้วยพื้นผิวแนวตั้งแบบrandom มีเอกลักษณ์ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้คนรุ่นใหม่ที่หลงใหลงานดีไซน์ได้จินตนาการต่อยอดไปไม่มีที่สิ้น
2017
โครงการ Sun Plaza 2 ตั้งอยู่บริเวณห้าแยกลาดพร้าวซึ่งเป็นย่านที่มีบริบทของพื้นที่ที่สามารถพบได้ทั่วไปในกรุงเทพ กล่าวคือ เป็นการผสมกันระหว่างอาคารสำนักงานขนาดใหญ่ และบ้านพักอาศัยที่ก่อสร้างขึ้นง่าย ๆ ด้วยไม้ รวมถึงเพิงและแผงลอยหาบเร่ขายอาหาร เป้าหมายของสถาปนิกสำหรับโครงการ คือพัฒนาการใช้พื้นที่ในเชิงเศรษฐกิจให้ได้มากที่สุด ผ่านรูปแบบสถาปัตยกรรมที่เหมาะสม ภายใต้ขนาดพื้นที่ที่จำกัด โครงการ Sun Plaza 2 เป็นโครงการที่มีรูปแบบการก่อสร้างแบ่งเป็น 2 ส่วน กล่าวคือส่วนที่ทำการก่อสร้างโดยใช้โครงสร้างของอาคารโรงอาหารเดิม 1 ชั้น โดยยกหลังคาขึ้นแล้วเพิ่มพื้นที่ใช้สอยเป็น 2 ชั้น ทั้งนี้การก่อสร้างในส่วนนี้ใช้ฐานรากเดิมและมีการเสริมโครงสร้างเพื่อให้เหมาะกับการใช้งานที่เปลี่ยนไป ทำให้ระยะของแนวเสาเป็น 3.50*3.50ม. งานส่วนที่ 2 เป็นงานก่อสร้างใหม่ต่อเนื่องกับพื้นที่ของงานก่อสร้างส่วนที่ 1 ชั้นบนของโครงการเป็นพื้นที่ศูนย์อาหาร โดยพื้นที่ทานอาหารอยู่ด้านทิศตะวันออกของอาคารและร้านอาหารซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับพื้นที่ล้างจานและทางเดินอยู่ด้านทิศตะวันตก Kios ขายน้ำ 2 จุดบริเวณกลางโถงทานอาหารและแนวหน้าร้านอาหารซึ่งถูกออกแบบให้เป็นเส้นเฉียงเพิ่มความน่าสนใจให้กับพื้นที่ภายในมากยิ่งขึ้น ‘Pop-Up’ 4 จุดด้านหน้าของอาคารนอกจากทำให้เกิดความต่อเนื่องของขนาดอาคารกับอาคารข้างเคียงแล้ว ยังช่วยลดทอนความยาวของด้านหน้าอาคาร และทำให้แสงธรรมชาติสามารถเข้ามาในตัวอาคารได้เพิ่มขึ้นอีกด้วย Façade ภายนอกของอาคารถูกตกแต่งด้วยแผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์บอร์ด ซึ่งมาขนาดแตกต่างกันไปเรียงตัวเป็น pixel ซึ่งช่วยลดทอนภาพของอาคารซึ่งมีขนาดใหญ่ลงได้ นอกจากนี้สีของ pixel ทำให้เกิดความน่าสนใจและดึงดูดผู้ใช้งานให้เข้ามาในโครงการ รวมถึงสร้างบรรยากาศใหม่ให้กับบริบทโดยรอบ