ห้องใต้หลังคา 01 /19

ห้องใต้หลังคา 01 /19

ห้องใต้หลังคา 01 /19

Product Recommend

Design Connext
Design Connext
Design Connext
Design Connext
Design Connext
ผลงานที่น่าสนใจ
thipveera pongsupanimit

thipveera pongsupanimit

เข้าชม 172 ครั้ง
Pasakorn Chumsilpsiri

Pasakorn Chumsilpsiri

เข้าชม 323 ครั้ง
ณัฐธยาน์ ตันติกุล
230
เข้าชม
2
ถูกใจ

ข้อมูลทั่วไป
เข้าชม
5 ครั้ง
ปี
2019
ประเภทโครงการ
บ้านพักอาศัย
สไตล์การออกแบบ
คอนเทมโพรารี่
โมเดิร์น
ผลงานที่เกี่ยวข้อง
200 ตร.ม.
2023
บ้านที่ถูกออกแบบมาเพื่อให้คนในครอบครัวได้ใช้เวลาพูดคุย ทำกิจกรรมร่วมกัน close-up มากยิ่งขึ้น บ้านที่เป็นเหมือนสื่อกลางที่ค่อยเชื่อมความสัมพันธ์ของคนในครอบครัวในแน่นแฟ้น ในขณะเดียวกันก็ยังคงความเป็นส่วนตัวให้กับคนในครอบครัวด้วย จนเกิดเป็น Close-up project ผู้ออกแบบ ( นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร) 1. นางสาว ณัฐธยาน์ ตันติกุล 640210007 2. นางสาว ภัสสร มาลัย 640210022 3. นาย บรรณวิชญ์ แท่นธัญลักษณ์ 640210079
235 ตร.ม.
2021
แนวความคิดในการออกแบบบ้านพักอาศัยหลังนี้เริ่มต้นจากความต้องการของเจ้าของที่ต้องการเชื่อมต่อบ้านหลังเก่ากับบ้านหลังใหม่โดยให้พื้นที่ชั้นล่างของบ้านเป็นพื้นที่ที่คนในครอบครัวใช้ทำกิจกรรมร่วมกัน ทั้งเข้าครัว กินข้าว พักผ่อนหรือจัดเลี้ยงสังสรรค์ต่างๆ ส่วนชั้นบนออกแบบพื้นที่เป็น 2 ฝั่งสำหรับ 2 ครอบครัวและเชื่อมถึงกันด้วยสะพาน จึงทำให้รู้สึกว่าเหมือนมีบ้านเล็กๆ 2 หลังอยูในหลังคาเดียวกัน ชื่อ Hage house ได้มาจาก คำว่า HAGE (ฮา-เก้) ภาษานอเวย์ แปลว่า "สวน" ซึ่งสอดคล้องกับบริบทของตัวบ้าน แต่ในความเป็นจริงอีกนัยหนึ่ง คำว่า HAGE ยังอ่านเป็นภาษาญี่ปุ่น 禿 (ฮา-เกะ) แปลว่า "หัวล้าน" และนำมาซึ่ง Requirement บางอย่างที่น่าสนใจ เจ้าของบ้านมีความต้องการพิเศษ คือ ไม่ต้องการมองเห็นสวนยาง ซึ่งน่าแปลกมากเพราะเป็นมุมมองที่สวยงาม เจ้าของบ้านเล่าว่า "เมื่อหลายสิบปีก่อน ได้พบชายคนหนึ่ง มีลักษณะหัวล้าน เสียชีวิตในกระท่อม หลังสวนยาง 💀 เมื่อเวลาผ่านไป เขาก็ยังปรากฏตัวให้ชาวบ้านเห็นอยู่ จึงได้ทำการรื้อกระท่อมทิ้ง จนถึงวันนี้ชายหัวคนนั้นก็ยังคงปรากฏตัวให้เห็นอยู่บ้าง" Requirement นี้จึงเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญในการออกแบบงานสถาปัตยกรรมหลังนี้ และ คำว่า "หัวล้าน หรือ Hage" จึงเป็นที่มาของชื่อบ้าน Hage house หลังนี้